094-559-9419

วิธีเลือกเฟอร์นิเจอร์ ให้เหมาะ สมกับพัฒนาการแต่ละช่วงวัย

Picture of Pattarapol

Pattarapol

November 9, 2023

ย้อนกลับ

วิธีเลือกเฟอร์นิเจอร์ ให้เหมาะ สมกับพัฒนาการแต่ละช่วงวัย

เมื่อทุกมุมของบ้านส่งผลต่อพัฒนาการของลูกน้อย FurKids ไม่รอช้า

ขอแชร์เคล็ดลับการเลือกซื้อเฟอร์นิเจอร์ให้ได้ขนาดเหมาะสมกับลูกน้อย

พร้อมชวนคุณพ่อ-คุณแม่จัดมุมใช้งานให้เหมาะกับช่วงวัยของเจ้าตัวเล็ก

ช่วงวัย 3-4 ปี : เหมาะกับเก้าอี้ความสูง 260 mm / โต๊ะความสูง 460 mm

ช่วงวัย 4-5 ปี : เหมาะกับเก้าอี้ความสูง 310 mm / โต๊ะความสูง 630 mm

เด็กๆ วัยนี้จะเริ่มมีสีสันที่ชอบ มีการ์ตูนเรื่องโปรด แถมยังมีจินตนาการส่วนตัว เฟอร์นิเจอร์ที่เหมาะกับเจ้าหนูวัยนี้ ควรมีดีไซน์น่ารักและสีสดใสที่ช่วยเรื่องอารมณ์และสมาธิ

อย่าลืม! เลือกโต๊ะ+เก้าอี้ ที่ไม่มีเหลี่ยมคมเพื่อความปลอดภัยของน้องๆ วัยซน

ช่วงวัย 3-4 ปี : เหมาะกับเก้าอี้ความสูง 350 mm / โต๊ะความสูง 590 mm

ช่วงวัย 8-10 ปี : เหมาะกับเก้าอี้ความสูง 380 mm / โต๊ะความสูง 640 mm

ลูกน้อยวัยประถมต้นที่เริ่มมีโลกการเรียนรู้เป็นของตัวเอง

เด็กๆ จะใช้พื้นที่วิ่งเล่นเยอะขึ้น และต้องการให้โต๊ะเขียนหนังสือเป็นอาณาจักรส่วนตัว

ดังนั้นเฟอร์นิเจอร์ที่ดี จะต้องรองรับการนั่งใช้งานของเด็กๆ

และต้องไม่มีเหลี่ยมคมซึ่งจะเป็นอันตราย

ช่วงวัย 11-13 ปี : เหมาะกับเก้าอี้ความสูง 430 mm / โต๊ะความสูง 710 mm

ช่วงวัย 14-18 ปี : เหมาะกับเก้าอี้ความสูง 460 mm / โต๊ะความสูง 760 mm

แม้ว่าจะเป็นเด็กโตที่เข้าสู่วัยรุ่น แต่พวกเขาก็ยังต้องการโต๊ะ+เก้าอี้ที่นั่งสบาย ชวนให้นั่งเรียนหนังสือ และทำกิจกรรมต่างๆ ได้ตลอดวันอย่างไม่รู้สึกเมื่อยล้า

Lastest stories

ข่าวสารล่าสุด

‘พ่อแม่เป็นครูคนแรกของลูกคุณ’ หนังสือที่ราหิมา บาล์ด์วิน ต้องการสื่อให้ถึงความสำคัญของการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ และสร้างเสริมพัฒนาการให้เด็ก ๆ ตั้งแต่ที่บ้าน แต่ไม่ว่าจะที่บ้าน หรือที่โรงเรียน เราก็ต้องให้ความสำคัญกับเรื่องการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะตั้งแต่วัยแรกเกิด จนถึง 6 ปีแรก ซึ่งนับว่าเป็นช่วงสำคัญที่สุดในชีวิตสำหรับการสร้างรากฐานการเรียนรู้ตลอดชีวิต นับว่าเป็นช่วงแห่งการซึมซับ (Absorbent Mild) และอ่อนไหว (Sensitive Preiod) เด็กในวัยนี้จะเรียนรู้ได้เร็วจากสภาพแวดล้อมในบริบทต่าง ๆ แล้วนำมาประกอบกันเป็นตัวตนของพวกเค้า เพื่อเตรียมตัวจะก้าวสู่วัยแห่งการเติบโตออกสู่โลกกว้างcnb c • สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่ดีเพื่อลูกน้อย สำหรับพัฒนาการของเด็ก เราควรให้ความสนใจกับ 2 ส่ิง คือ ส่ิงแวดล้อมในการเลี้ยงดู และการให้เสรีภาพอย่างมีขอบเขต ซึ่งหมายความว่า การเตรียมสภาพแวดล้อมที่ดี ต้องสร้างกฎ หรือระเบียบบางอย่างควบคู่ไปพร้อมกัน เพื่อให้ลูกน้อยมีพัฒนาการที่ดี และเรียนรู้ที่จะเคารพกฎเกณฑ์ของสังคม สองสิ่งนี้ควรปลูกฝังตั้งแต่เด็ก ๆ • เริ่มเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว ให้เค้าเคยชินกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ ที่อยู่ในขอบเขต ไม่ละเมิดสิทธิ หรือทำให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น อันเป็นกฎขั้นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคม เช่น การตั้งกฎว่า […]

‘พ่อแม่เป็นครูคนแรกของลูกคุณ’ หนังสือที่ราหิมา บาล์ด์วิน ต้องการสื่อให้ถึงความสำคัญของการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ และสร้างเสริมพัฒนาการให้เด็ก ๆ ตั้งแต่ที่บ้าน แต่ไม่ว่าจะที่บ้าน หรือที่โรงเรียน เราก็ต้องให้ความสำคัญกับเรื่องการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะตั้งแต่วัยแรกเกิด จนถึง 6 ปีแรก ซึ่งนับว่าเป็นช่วงสำคัญที่สุดในชีวิตสำหรับการสร้างรากฐานการเรียนรู้ตลอดชีวิต นับว่าเป็นช่วงแห่งการซึมซับ (Absorbent Mild) และอ่อนไหว (Sensitive Preiod) เด็กในวัยนี้จะเรียนรู้ได้เร็วจากสภาพแวดล้อมในบริบทต่าง ๆ แล้วนำมาประกอบกันเป็นตัวตนของพวกเค้า เพื่อเตรียมตัวจะก้าวสู่วัยแห่งการเติบโตออกสู่โลกกว้างcnb c • สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่ดีเพื่อลูกน้อย สำหรับพัฒนาการของเด็ก เราควรให้ความสนใจกับ 2 ส่ิง คือ ส่ิงแวดล้อมในการเลี้ยงดู และการให้เสรีภาพอย่างมีขอบเขต ซึ่งหมายความว่า การเตรียมสภาพแวดล้อมที่ดี ต้องสร้างกฎ หรือระเบียบบางอย่างควบคู่ไปพร้อมกัน เพื่อให้ลูกน้อยมีพัฒนาการที่ดี และเรียนรู้ที่จะเคารพกฎเกณฑ์ของสังคม สองสิ่งนี้ควรปลูกฝังตั้งแต่เด็ก ๆ • เริ่มเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว ให้เค้าเคยชินกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ ที่อยู่ในขอบเขต ไม่ละเมิดสิทธิ หรือทำให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น อันเป็นกฎขั้นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันในสังคม เช่น การตั้งกฎว่า […]

สำหรับคุณพ่อคุณแม่น่าจะคุ้นกับคำว่า ‘จิตวิทยาเด็ก’ เป็นอย่างดี เพราะสุขภาพที่ดี หมายถึงทั้งสุขภาพกาย และสุขภาพใจ ดังนั้นวิธีการเลี้ยง การดูแลย่อมมีผลโดยตรงต่อพัฒนาการโดยรวม บางครั้งเค้าไม่อาจสื่อสารความต้องการและความรู้สึกออกมาได้ทั้งหมด ผู้ปกครองจึงต้องหมั่นสังเกตพฤติกรรมของน้อง ๆ อยู่เสมอ โดยเฉพาะความต้องการด้านจิตใจ ความต้องการด้านจิตใจของน้อง ๆ ความรักความอบอุ่น เด็กรู้สึกอยากให้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูรักตน รู้สึกว่าตนเองเป็นที่ต้องการ มีค่าสำหรับพ่อแม่ รู้สึกว่าตนเองเป็นที่ยอมรับ การชมเด็ก ๆ เมื่อทำมิชชั่นประจำวันเสร็จก็ช่วยให้น้อง ๆ รู้สึกภูมิใจและเพิ่ม EF ให้แข็งแรงมากขึ้น การกระตุ้นอย่างเหมาะสม ขึ้นกับวัยของเด็ก ใช้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ เช่น การใช้นิ้วมือ การใช้มือเท้า และอื่นๆ การกระตุ้นต่างๆ ทำให้ได้กระตุ้นความรู้สึกอยากรู้อยากเห็น ความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม ความรู้สึกสนุก อยากทดลองอยากลองทำ ทำให้รู้สึกมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกตามไปด้วย ความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย (Security and protection) ความรู้สึกมั่งคงปลอดภัยของเด็กได้มาจากสิ่งแวดล้อมรอบข้าง ทั้งด้านจิตใจและร่างกาย เด็กต้องการความรู้สึกว่าผู้ใหญ่สามารถปกป้องได้ ไม่ปล่อยให้เกิดอันตราย เช่น ป้องอุบัติเหตุต่างๆ เมื่อเด็ก ๆ กำลังเล่นสนุก หรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่มั่นใจว่าปลอดจากสารปนเปื้อน […]

‘พ่อแม่เป็นครูคนแรกของลูกคุณ’ หนังสือที่ราหิมา บาล์ด์วิน ต้องการสื่อให้ถึงความสำคัญของการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ และสร้างเสริมพัฒนาการให้เด็ก ๆ ตั้งแต่ที่บ้าน แต่ไม่ว่าจะที่บ้าน หรือที่โรงเรียน เราก็ต้องให้ความสำคัญกับเรื่องการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะตั้งแต่วัยแรกเกิด จนถึง 6 ปีแรก ซึ่งนับว่าเป็นช่วงสำคัญที่สุดในชีวิตสำหรับการสร้างรากฐานการเรียนรู้ตลอดชีวิต นับว่าเป็นช่วงแห่งการซึมซับ (Absorbent Mild) และอ่อนไหว

สำหรับคุณพ่อคุณแม่น่าจะคุ้นกับคำว่า ‘จิตวิทยาเด็ก’ เป็นอย่างดี เพราะสุขภาพที่ดี หมายถึงทั้งสุขภาพกาย และสุขภาพใจ ดังนั้นวิธีการเลี้ยง การดูแลย่อมมีผลโดยตรงต่อพัฒนาการโดยรวม บางครั้งเค้าไม่อาจสื่อสารความต้องการและความรู้สึกออกมาได้ทั้งหมด ผู้ปกครองจึงต้องหมั่นสังเกตพฤติกรรมของน้อง ๆ อยู่เสมอ โดยเฉพาะความต้องการด้านจิตใจ ความต้องการด้านจิตใจของน้อง ๆ ความรักความอบอุ่น เด็กรู้สึกอยากให้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูรักตน รู้สึกว่าตนเองเป็นที่ต้องการ มีค่าสำหรับพ่อแม่ รู้สึกว่าตนเองเป็นที่ยอมรับ